
![]() |
ประวัติความเป็นมาของเครื่องวัดความหนืด(Viscotester) ยี่ห้อ Rionปี ค.ศ.1957: มีการพัฒนาเครื่องวัดความหนืดโดยใช้หลักการสั่นสะเทือนรุ่นแรก คือรุ่น V-1201ปี ค.ศ.1960: ได้มีรุ่น V-1207 ได้ถูกพัฒนาต่อมาและนำออกสู่ท้องตลาด เครื่องรุ่นนี้เป็นเครื่องที่ใช้ rotor จุ่มลงในของเหลวและมีการกวนตัวอย่าง ซึ่งค่าแรงต้านทานความหนืด (ค่า torque) ของของเหลวที่วัดที่กระทำกับ rotor จะถูกวัดออกมาเป็นค่าความหนืด และค่าการวัดซ้ำที่ได้ (reproducibility) ก็ได้ผลดีเยี่ยม การใช้งานก็ง่าย แต่โครงสร้างของเครื่องที่มีการผลิตที่ซับซ้อนจึงทำให้เครื่องมีราคาสูง ปี ค.ศ.1965: ได้มีการพัฒนา เครื่องรุ่น VT-01 สำหรับค่าความหนืดทั่วไป และ รุ่น VT-02 สำหรับช่วงความหนืดที่มีค่าสูง และได้มีการปรับปรุงเครื่อง รุ่น VT-1207 ไปด้วย ทำให้เครื่องรุ่นนี้มีราคาถูกลง และยังคงรักษาข้อดีของเครื่องไว้ได้ เช่น ค่าความถูกต้อง(accuracy) สูง, มีความเสถียร และมีค่าการวัดซ้ำที่ดี (reproducibility) ตัวเครื่องมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา สามารถนำไปวัดในสถานที่ต่างๆ ได้สะดวก และง่ายต่อการวัดค่า ต่อมาได้มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงได้มีการพัฒนา รุ่น VT-03/VT-04 และรุ่น VT-03F/04F.ด้วย ปี ค.ศ.2013: ได้มีการพัฒนา รุ่น VT-06 ซึ่งมีหน้าจอเป็นแบบ LCD ซึ่งเป็นรุ่นที่มีการจำหน่ายอยู่ในปัจจุบัน |
![]() |
VT-06เครื่องรุ่น VT-06 ได้รับการออกแบบมาสำหรับการใช้งานควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ทางด้านปิโตรเคมี, สี, และกาว รวมถึงทางด้านอาหารด้วยช่วงของค่าความหนืดที่วัดได้สามารถวัดได้ค่อนข้างกว้างครอบคลุมกับงานต่างๆ เช่น น้ำมันเกียร์ที่ใช้ในเครื่องจักรก่อสร้าง และสามารถทำการวัดได้อย่างง่าย โดยการจุ่มหัว rotor ลงในของเหลว ในขณะที่ rotor หมุนจะเกิดแรงต้านทานขึ้น ซึ่งก็คือค่าความหนืด (ค่า torque) ที่สามารถอ่านค่าได้โดยตรงนั่นเอง
|
Specifications
details
มาตรฐานของเครื่องมือ | CE marking, WEEE Directive, Chinese RoHS |
ช่วงการวัด | (ขึ้นอยู่กับถ้วยตัวอย่างที่ใช้ตามด้านล่าง, ปริมาณของเหลวที่วัด) |
No. 3 rotor: | 0.3 dPa•s to 13 dPa•s (resolution: 0.1) |
No. 1 rotor: | 3 dPa•s to 150 dPa•s (resolution: 1) |
No. 2 rotor: | 100 dPa•s to 4000 dPa•s (resolution: 10) |
ปริมาณสารตัวอย่างในการวัด | |
No. 1 and No. 2 rotor | Approx. 350 mL (ด้วยบีกเกอร์ JIS 300 มิลลิลิตร) |
No. 3 rotor | Approx. 150 mL (ด้วยถ้วยเบอร์ 3) ระยะห่างระหว่าง rotor และก้นถ้วย: ประมาณ 15 มม. |
ความถูกต้องและความแม่นยำในการวัด | ±10% ±1 ของค่าที่แสดง |
ความแม่นยำ | ±5% * *สอบเทียบตามมาตรฐาน JIS Z 8809:2011 standard liquids for calibrating viscometer * เกิดข้อผิดพลาดในการปัดเศษอันเป็นผลมาจากความละเอียด |
ความเร็วในการหมุน | 62.5 รอบ/นาที |
เวลาสุงสุดในการวัดอย่างต่อเนื่อง | 100 วินาที |
หน้าจอแสดงค่า | หน้าจอแสดงค่าที่วัดได้ค้างไว้ |
Backlight function | สามารถปิดเครื่องอัตโนมัติได้นานสูงสุด 60 s (เมื่อไม่ได้ใช้ rotor และใช้แบตเตอรื่) |
Function การปิดใช้งานอัตโนมัติ (เมื่อใม่ได้เสียบปลั๊กไฟ) | หาก rotor ไม่หมุน และไม่มีการใช้งานนาน 5 นาที เครื่องจะปิดอัตโนมัติ |
Function ประวัติการใช้งาน | แสดงค่าหมายเลข rotor ที่ใช้งานล่าสุด |
สภาพแวดล้อมสำหรับการใช้งาน | 5°C to 35°C, 10% to 90%RH (ไม่มีการควบแน่น) |
ไฟฟ้าที่ใช้ | แบตเตอรี่, แบตเตอรี่แบบชาร์ต หรือแหล่งจ่ายไฟ VA-06J (5 V to 7 V: rated voltage 6 V) |
การใช้กระแสไฟ | ประมาณ 250 mA (ที่ค่าtorque สูงสุด) |
การตรวจสอบแรงดันแบตเตอรี่ | แสดงสถานะแบตเตอรี่ (4 ระดับ) |
ขนาดเครื่องมือ | 175 มม. (ส) × 77 มม. (ก) × 45 มม. (ล) (maximum) 175 มม. (ส) × 77 มม. (ก) × 40 มม. (ล) (ไม่รวมส่วนประกอบที่ต่อเพิ่ม) |
น้ำหนักเครื่องมือ | ประมาณ. 260 ก. (ไม่รวมแบตเตอรี่) |
อุปกรณ์เสริมที่มากับเครื่อง | |
No. 1 rotor (ประมาณ 24 มม. x 53 มม. x 166 มม.) | SUS304 จำนวน 1 อัน |
No. 2 rotor (ประมาณ 15 มม. x 1 มม. x 113 มม.) | SUS304 จำนวน 1 อัน |
No. 3 rotor (ประมาณ 45 มม. x 47 มม. x 160 มม.) | SUS304 จำนวน 1 อัน |
No. 3 Cup (ประมาณ 52.6 มม. x 75 มม.) | SUS304 จำนวน 1 อัน |
Rotor extension (in a tube) (900 mm; 300 mm × 3) | SUS304 จำนวน 1 อัน |
แบตเตอร์รี่ IEC R6 (ขนาด AA) | จำนวน 4 ก้อน |
คู่มือการใช้งาน จำนวน | 1 เล่ม |
คู่มือการวัดความหนืด จำนวน | 1 เล่ม |
ใบรับรองการตรวจสอบ จำนวน | 1 ใบ |
อุปกรณ์เพิ่มเติม | |
แหล่งจ่ายไฟ | VA-05J |
ขาตั้ง | VA-04 |

Controls and Functions
details



Technical Documents
details
ก้านต่อของ rotor มีก้านต่อของ rotor ซึ่งสามารถพับได้ ประกอบด้วย แท่งยาวขนาด 30 ซม. จำนวน 3 ท่อน เชื่อมต่อกันด้วยวงแหวนเล็กๆ ซึ่งรวมความยาวทั้งหมดจะมีขนาด 90 ซม. ซึ่งเมื่อต้องการก้านต่อ 30 ซม. หรือ 60 ซม. ก็ได้ โดยการถอดวงแหวนออกด้วยคีม และสามารถใส่กลับมาได้ใหม่ ปิดวงแหวนให้สนิทเพื่อป้องกันส่วนต่างๆ หลุดออกจากกันระหว่างการใช้งาน หมุนก้านต่อเข้ากับตัวเครื่อง และต่ออีกด้านหนึ่งของก้านเข้ากับ rotor การหมุนใช้งานจะต้องหมุนให้เป็นด้านทวนเข็มนาฬิกาเพื่อหมุนชิ้นส่วนต่อเข้าด้วยกัน เมื่อวัดของเหลวที่มีความหนืดสูง รอยต่อจะมีลักษณะดังที่แสดงในภาพประกอบ แต่จะไม่มีผลต่อการวัด ก้านต่อ rotor ทำจากสแตนเลส |
![]() |
![]() |
การต่อ Rotor
|
วิธีการวัด
details
|
![]() |